นโยบายการรับเร่ืองร้องเรียนหรือเบาะแส
ข้อมูลสำคัญ
อนุมัติ ณ วันที่ | เห็นชอบโดยคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2565 อนุมัติโตยคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 |
วัตถุประสงค์การใช้งาน | แนวทางปฏิบัติ |
ผู้รับผิดชอบ* | คณะกรรมการทำกับดูแลกิจการ |
ผู้ติดตามและรายงาน | สำนักกฎหมายและงานกำกับดูแล |
* หมายเหตุ : ผู้รับผิดชอบ หมายถึง คณะกรรม มการชุดย่อยซึ่งมีหน้าที่ จัดให้มีนโยบาย วางกรอบแนวทางการกำกับดูแลการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง รวมถึง ทบทวน ให้ข้อเสนอแนะ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการของนโยบาย
หลักการและเหตุผล
บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) ("บริษัท" และบริษัทย่อย (รวมเรียกว่า "กลุ่มบริษัท") ตระหนักถึงความสำคัญ ของการตำเนินงานอย่างโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ตึ จึงได้จัดให้มี มาตรการกำกับดูแลและกำหนดช่องทางสำหรับผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายทั้งภายในและ ะภายนอก ซึ่งรวมถึงพนักงานของ มมุ่งมั่นตั้งใจในการปฏิบัติ กลุ่มบริษัททุกคน ("พนักงาน") ในการร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสต่าง ๆ ตามข้อกำหนดของกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายว่า สิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียนั้นจะได้รับการปฏิบัติดูแลอย่างดีที่สุดจากบริษัทด้วยความเป็นธรรมและเท่าเทียม
ขอบเขตนโยบาย
นโยบายการรับเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส ("นโยบาย") นำมาใช้กับกรรมการของบริษัททุกท่าน ("กรรมการ") ผู้บริหารของบริษัท (พนักงานตั้งแต่ระดับผู้อำนวยการฝ่ายจนถึงระดับกรรมการผู้จัดการ) และพนักงาน
- วัตถุประสงค์
- บริษัทได้กำหนดนโยบายขึ้นเพื่อให้มั่นใจว่าจะมีการแจ้งเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำที่อยู่ในข่ายต้อง สงสัยว่าอาจเป็นความผิดที่เกี่ยวข้องกับการตำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท ("การรับเรื่องร้องเรียน" และมีการ จัดการกับเรื่องร้องเรียนตังกล่าวอย่างรวดเร็วและเหมาะสม นยบายมีผลบังคับใช้กับกรรมการและพนักงาน ทุกระดับในองค์กร
- เพื่อสนับสนุนให้พนักงานแจ้งข้อเท็จจริงอันมีมูลกี่ยวกับการกระทำที่อยู่ในข่ายต้องสงสัยว่าอาจเป็นความผิด ตามนโยบาย โตยพนักงานสามารถมั่นใจได้ว่าบริษัทจะตำเนินการกับเรื่องร้องเรียนของพนักงานอย่าง เข้มงวดและจะทำการสืบสวนเรื่องราวตามความเหมาะสม บริษัทจะปกป้องพนักงานที่แจ้งเรื่องร้องเรียนอันมี มูลโดยสุจริต แม้จะปรากฎในภายหลังว่าเรื่องร้องเรียนตังกล่าวเป็นความเข้าใจผิด นอกจากนี้ บริษัทจะดำเนินการต่าง ๆ ย่างเหมาะหมเที่อดัมละหงพนักงานแทะบุลคมภายนะกจากหวามเสียหาย หรือ การถูกทำร้ายหรือการถูกคุกคามวันมีตาเหศจากการแจ้งเรื่ยงร้องเรียนตังกล่าว
- คำนิยามของการรับเรื่องร้องเรียน การรับเรื่องร้องเรียน หมายถึง การรับข้อมูลเกี่ยวกับการกระทำความผิด ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตคอร์รัปชั่น ทั้งภายในและภายนอกองค์กร การกระทำที่สงสัยว่าฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ จรรยาบรรณ หรือนโยบายต่างๆ การปฏิบัติที่ไม่เป็นธรม การกระทำใด ๆ ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่กลุ่มบริษัท การบกพร่องด้านสินค้าหรือบริการ รวมถึงข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัท และการกระทำที่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยและ สุขภาพของบุคคลหรือสิ่งแวดล้อม
- การปฏิบัติตามนโยบาย บริษัทสนับสนุนให้พนักงานแจ้งข้อเท็จจริงผ่านช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสของบริษัท โดยให้ข้อมูล หลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอเกี่ยวกับการการกระทำความผิดหากพบเห็นหรือประสบกับการกระทำอยู่ในข่ายต้องสงสัย ว่าอาจเป็นความผิดตามนโยบาย ในกรณีที่การกระทำไม่ปรากฎแน่ชัดว่าขัดต่อนโยบาย พนักงานสามารถปรึกษา ผู้บังคับบัญชา หรือสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสเพื่อตรวจสอบต่อไป
- บุคคลที่สามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส
พนักงานหรือบุคคลภายนอกที่พบเห็นหรือสงสัยโดยสุจริตว่ามีกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน หรือบุคคลใด ๆ
ที่กระทำการแทนกลุ่มบริษัท มีการกระทำความผิดตามคำนิยามในข้อ 2 ทั้งนี้ ไม่ว่าตนเองจะได้รับความเสียหาย
หรือไม่ รวมถึงควรแจ้งข้อมูลในการติดต่อเพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารกับบริษัทด้วย อย่างไรก็ตาม กรณีที่มีหลักฐาน
ปรากฎชัดเจนเพียงพอว่าผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสมีพฤติการณ์ชัดแจ้งว่า แจ้งหรือกล่าวหาผู้ถูกร้องเรียนโดย
ไม่สุจริต บริษัทจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อปกป้องชื่อเสียงของผู้ถูกร้องเรียน ดังนี้
- ในกรณีที่ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสเป็นพนักงาน ให้ดำเนินการสอบสวน เพื่อพิจารณาลงโทษตามวินัย
- ในกรณีที่ผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบ าะแสเป็นบุคคลภายนอก และกลุ่มบริษัทได้รับความเสียหาย บริษัทอาจ พิจารณาดำเนินคดีกับผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนนี้ด้วย
- กระบวนการแจ้งเรื่องร้องเรียน
- ให้พนักงานแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน / ส่วนงาน /
สำนักงานหรือสำนัก ทั้งนี้ ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน / สวนงาน / สำนักงานหรือสำนักของพนักงาน ควรให้
ความช่วยเหลือพนักงานในการดำเนินการกับข้อร้องเรียนของพนักงานอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือ
ในกรณีที่พนักงานไม่ต้องการแจ้งเรื่องดังกล่าวกับบุคคลดังกล่าวด้วยสาเหตุประการใดก็ตาม สามารถแจ้ง
เรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสได้ตามช่องทางดังต่อไปนี้
ทางโทรศัพท์ : หัวหน้างานตรวจสอบภายใน
ที่หมายเลข 0-2783-9000 ต่อ 9040
หัวหน้าสานักกฎหมาย งานกำกับดูแล และเลขานุการบริษัท
ที่หมายเลข 0-2783-9000 ต่อ 9019ทางอีเมล : SSC-ComSec@sermsukplc.com
ส่วนงานเลขานุการบริษัท
SSC-whistleblowing@sermsukplc.com
สานักกฎหมาย ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และฝ่ายตรวจสอบภายใน
SSC-CGC@sermsukplc.com
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการทางไปรษณีย์ : คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ บริษัท เสริมสุข จากัด (มหาชน)
ที่อยู่ 90 อาคาร ซีดับเบิ้ล ยู ทาวเวอร์ ชั้น ที่ 31-32 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 - หลังจากที่บุคคลตามข้อ 5.1 ได้รับเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส จะมีการรวบรวบข้อมูล ประมวลผลบริหาร จัดการ และตรวจสอบเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส หากมีมูลความจริง จะนำเสนอผลการตรวจสอบให้ กรรมการผู้จัดการ ประธานคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท แล้วแต่กรณี
- ภายหลังการพิจารณา ดำเนินการ แก้ไข ปรับปรุงตามเรื่องร้องเรียนหรือเบาแสที่ได้รับมาแล้ว บริษัทจะแจ้งผล การดำเนินการให้ผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสที่บริษัทสามารถติดต่อได้ทราบตามขั้นตอนและภายใน ระยะเวลาที่เหมาะสม
- ให้พนักงานแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสเป็นลายลักษณ์อักษรแก่ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน / ส่วนงาน /
สำนักงานหรือสำนัก ทั้งนี้ ผู้บังคับบัญชาตามสายงาน / สวนงาน / สำนักงานหรือสำนักของพนักงาน ควรให้
ความช่วยเหลือพนักงานในการดำเนินการกับข้อร้องเรียนของพนักงานอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือ
ในกรณีที่พนักงานไม่ต้องการแจ้งเรื่องดังกล่าวกับบุคคลดังกล่าวด้วยสาเหตุประการใดก็ตาม สามารถแจ้ง
เรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสได้ตามช่องทางดังต่อไปนี้
- การให้ความคุ้มครองผู้แจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสและบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสรวมถึงผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง บริษัทจะถือว่าข้อมูลการแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแสดังกล่าวเป็นความลับ โดยจะไม่เปิดเผยชื่อ ที่อยู่ ภาพ หรือ ข้อมูลอื่นใดของผู้ร้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสและผู้ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงรวมถึงกำหนดมาตรการ คุ้มครองในกรณีที่ผู้นั้นเห็นว่าตนอาจได้รับความไม่ปลอดภัยหรืออาจเกิดความเดือดร้อนเสียหาย โดยผู้ได้รับความ เดือดร้อนเสียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที่มีความเหมาะสมและเป็นธรรม เว้นแต่เป็นการ เปิดเผยตามที่กฎหมายและหน่วยงานกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องกำหนด ทั้งนี้ บุคคลใด ๆ ที่ได้รับทราบเรื่องการแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการแจ้งเรื่องร้องเรียน หรือเบาะแสตามนโยบายนี้ จะต้องปกป้องข้อมูลเรื่องการร้องเรียนหรือการแจ้ งเบาะแส หรือที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการ ร้องเรียนหรือการแจ้งเบาะแส ให้เป็นความลับ และไม่เปิดเผยต่อบุคคลอื่น โดยคำนึงถึงความปลอดภัยและ ความเสียหายของผู้แจ้งร้องเรียนหรือเบาะแส แหล่งที่มาของข้อมูล หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นใน ขั้นตอนการดำเนินการตามนโยบายนี้ หรือตามที่กฎหมายกำหนด หากมีการจงใจฝ่าฝืนหรือประมาทเลินเล่อนำข้อมูล ออกไปเปิดเผย บริษัทจะดำเนินการลงโทษทงวินัย และเหรือดำเนินการทางกฎหมายกับผู้ที่ฝ่าฝืน แล้วแต่กรณี
- บทลงโทษ
หากมีการกระทำการใดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ดังต่อไปนี้- แจ้งข้อร้องเรียนหรือเบาะแสอันเป็นเท็จหรือทุจริต หรือ
- เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนหรือเบาะแส เว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นในขั้นตอนการดำเนินการตามนโยบายนี้ หรือตามที่กฎหมายกำหนด หรือ
- กระทำการคุกคาม รวมถึงสร้างความเดือดร้อนแก่ผู้แจ้งข้อร้องเรียนอันมีมูลตามนโยบาย